เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปัจจุบันการเมือง เศรษฐกิจ สังคมไทยในปัจจุบัน วิเคราะห์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม pdf การเมืองไทย การเมือง เศรษฐกิจ สังคม มีความสัมพันธ์กันอย่างไรความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 2565 การเมืองคืออะไร
สังคมการเมืองเลขาธิการบอร์ดสุขภาพฯ ชวนภาคการเมืองขับเคลื่อน “ระบบหลักประกันรายได้” หรือเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปัจจุบัน “บำนาญถ้วนหน้า” เพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิตเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ชี้หากเดินหน้าสำเร็จจะเป็นที่จดจำตามหลัง “ระบบบัตรทอง” พร้อมชวนคนไทยร่วมสร้างเจตนารมณ์ทางสังคมในวาระของการเลือกตั้ง เพื่อผลักดันสู่การเป็นพันธสัญญาของฝ่ายการเมืองนพการเมืองไทย .ประทีป ธนกิจเจริญ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)ร่วมในการแถลงข่าวหัวข้อ ร่วมผลักดันบำนาญถ้วนหน้า สู่นโยบายสำคัญพรรคการเมือง ซึ่งจัดขึ้นโดยสภาองค์กรของผู้บริโภค และภาคีเครือข่าย เมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2566 ระบุว่า เรื่องของสวัสดิการ ระบบบำนาญ หรือหลักประกันรายได้ของผู้สูงวัยนี้ กำลังจะเป็นโอกาสทางการเมืองของพรรคการเมืองต่างๆ ที่จะต้องรีบตัดสินใจและนำไปบรรจุไว้เป็น
นโยบายสำหรับการเลือกตั้งครั้งหน้าที่กำลังจะมาถึง เพราะสิ่งนี้กำลังเป็นความต้องการของสังคม
สำหรับเรื่อง หลักประกันรายได้เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ เป็นหนึ่งในมติสำคัญของสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ที่หลายภาคส่วนร่วมกันให้การรับรองไปเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2565 ซึ่งได้มีข้อเสนอภายใต้ 5 เสาหลักที่จะต้องขับเคลื่อนไปด้วยกัน ประกอบด้วย 1. การพัฒนาผลิตภาพประชากร การมีงานทำ และมีรายได้จากการทำงานที่เหมาะสมตลอดช่วงวัยวิเคราะห์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม 2. การออมระยะยาวเพื่อยามชราภาพที่ครอบคลุม เพียงพอ และยั่งยืน 3.การเมือง เศรษฐกิจ สังคม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร เงินอุดหนุนและบริการสังคมที่จำเป็นจากรัฐ 4. การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพโดยเฉพาะบริการสุขภาพระยะยาว (Long-term care) 5. การดูแลโดยครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปัจจุบัน
นพ.ประทีป กล่าวว่า แน่นอนว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม pdfมีความซับซ้อน และต้องทำในหลายมิติ จึงทำให้บางฝ่ายอาจมองว่าเป็นไปได้ยาก หรือเกิดข้อสงสัยมากมาย เช่นว่าประเทศไทยจะทำได้หรือไม่ รัฐบาลจะเอาเงินมาจากไหน การมีระบบประกันสังคมหรือเบี้ยยังชีพที่ดูแลคนเฉพาะส่วนน่าจะเพียงพอแล้วหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 ที่ทำให้ภาพรวมของประเทศจนลง แต่หากมองย้อนกลับไปถึงประสบการณ์ของการผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง) สถานการณ์ เศษฐกิจ สังคม การเมือง ปัจจุบัน ที่ประสบผลสำเร็จมาถึงปัจจุบันนี้ก็เกิดขึ้นภายหลังวิกฤตด้วยเช่นกันระบบบัตรทองที่ตั้งขึ้นในปี 2545 ก็เคยเจอปัญหาคล้ายกัน คือการตั้งคำถามว่าจะสร้างระบบหลักประกันถ้วนหน้าให้กับทุกคนได้อย่างไร เพราะเป็นเรื่องใหญ่และซับซ้อน จะเอาเงินมาจากไหน โดยเฉพาะหลังประเทศเพิ่งผ่านพ้นวิกฤตต้มยำกุ้งในปี 2540
อย่างไรก็ตามเมื่อมีการผลักดัน ศึกษาความเป็นไปได้และผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น จนเกิดการสร้างเจตนารมณ์ร่วมกันของสังคม การเมืองไทยและนำไปสู่การเป็นเจตจำนงทางการเมือง ก็ทำให้เกิดการขับเคลื่อนจนประสบผลสำเร็จได้” นพ.ประทีป กล่าวนพ.ประทีป ยังกล่าวด้วยว่าที่ผ่านมาทางสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ซึ่งมีหน้าที่หลักในการสานพลังทุกภาคส่วนเพื่อผลักดันนโยบายสาธารณะ ได้มองว่าขณะนี้เป็นโอกาสและมีความพร้อมในหลากหลายส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน รวมถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่แสดงออกถึงความต้องการและพร้อมให้การสนับสนุน ขณะที่ภาควิชาการเอง ก็มีผลการศึกษาและหาทางออกให้กับเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจน รวมไปถึงภาครัฐ หน่วยงานต่างๆ ที่หลายแห่งก็มีประสบการณ์และวางระบบย่อยๆการเมือง เศรษฐกิจ สั่งคม pdf เหล่านี้ไปแล้วพอสมควร แต่ยังขาดเพียงการรวมพลังของทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมกัน
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมไทยในปัจจุบัน
“ตอนนี้เราเห็นแนวโน้มความเป็นเอกภาพ และความต้องการที่คล้ายกันของทุกฝ่ายความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 2565แล้วว่าต้องการให้ระบบนี้เกิดขึ้น ดังนั้นจังหวะของการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่สุด ในการที่จะทำให้เกิดเจตนารมณ์ทางสังคม ที่นำไปสู่พันธสัญญาของฝ่ายการเมืองในการผลักดัน และอยากฝากถึงผู้นำทางการเมืองว่าเรื่องหลักประกันรายได้นี้ จะเป็นโอกาสที่พรรคต้องรีบตัดสินใจ เพราะถึงเวลาแล้วที่จะต้องขับเคลื่อนสร้างระบบเพื่อความมั่นคงให้กับชีวิตของประชาชนวิเคราะห์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ทำให้เป็นที่น่าจดจำเหมือนระบบบัตรทอง” นพ.ประทีป กล่าวนายนิมิตร์ เทียนอุดม เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ
กล่าวว่า จังหวะของการหาเสียงเลือกตั้ง จะเป็นจังหวะที่ดีในการผลักดันระบบบำนาญถ้วนหน้าให้เกิดขึ้น ซึ่งประชาชนสามารถออกคำสั่งให้นักการเมืองหรือพรรคการเมืองทำเรื่องนี้ได้ ด้วยการเข้าคูหาและเลือกพรรคที่มีนโยบายในการผลักดันเรื่องนี้ ขณะเดียวกันหากจะให้สำเร็จ ก็ต้องประเมินว่าเป็นพรรคที่เหมาะสมและสามารถทำได้จริง“เราต้องย้อนดูด้วยว่ารอบที่แล้วพรรคการเมืองไหนหลอกเรา ทบทวนว่าแต่ละพรรคที่เป็นรัฐบาลอยู่เคยมีนโยบายเรื่องบำนาญว่าอย่างไรบ้างการเมือง เศรษฐกิจ สังคม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร แล้วเขาได้ทำ หรือมีความพยายามที่จะทำตามนั้นหรือไม่ ถ้าไม่ได้ทำแล้วเราจะปล่อยให้เขาหลอกอีกรอบหรือไม่ นี่คือบทบาทของภาคประชาชนที่กำลังจะมีอำนาจขึ้นมาใหม่ และเป็นหน้าที่ของเครือข่ายฯ ที่เราจะช่วยฉายภาพว่าพรรคไหนมีหรือไม่มีนโยบายเรื่องนี้ หรือมีข้อสังเกตอย่างไร” นายนิมิตร์ กล่าว
วิเคราะห์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
ด้าน นางหนูเกณ อินทจันทร์ ตัวแทนผู้สูงอายุ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมไทยในปัจจุบันเครือข่ายสลัมสี่ภาค กล่าวว่า เมื่อพูดถึงระบบสวัสดิการหรือบำนาญถ้วนหน้า แล้วมีข้อถกเถียงจากฝ่ายราชการเกี่ยวกับเรื่องการเงิน ว่าจะนำงบประมาณจากไหนมาจ่าย หรือกระทั่งอาจทำให้ประเทศล่มจมได้ เป็นต้น ในฐานะประชาชนมีความเจ็บปวดที่ถูกมองเช่นนั้นจากข้าราชการ ที่มีเงินเดือนและสวัสดิการเยอะกว่าชาวบ้าน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไป ในวัยหนุ่มสาวก็ต่างล้วนเป็นผู้ที่ทำงานสร้างรายได้ให้กับประเทศเศษฐกิจ สังคม การเมือง ปัจจุบัน และเมื่อถึงวัยเกษียณแล้วก็จำเป็นที่เขาจะต้องได้รับการดูแลจากประเทศ
ที่เขามีส่วนร่วมสร้างมาด้วยปัจจุบันเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ได้กันอยู่ 600-900 บาท มันไม่เพียงพอกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ผู้สูงอายุหลายคนจึงยังต้องดิ้นรน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม มีความสัมพันธ์กันอย่างไรทำงานหาเงินเลี้ยงชีพ ซึ่งในสภาพเศรษฐกิจขณะนี้คิดว่าต้องอย่างน้อย 3,000 บาท จึงจะเพียงพอ ในฐานะประชาชนธรรมดาจึงอยากฝากให้นักการเมืองเห็นความสำคัญการเมืองคืออะไร และผลักดันระบบบำนาญถ้วนหน้านี้ให้เป็นจริง อย่าลืมว่าเงินเหล่านี้ก็ไม่ได้หายไปไหน เพราะสุดท้ายมันก็ต้องถูกนำไปซื้อสิ่งของ เครื่องใช้จำเป็น และหมุนเวียนกลับมากระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากอีก” นางหนูเกณ กล่าวสังคมการเมือง
ขอบคุณเครดิตจาก
ข่าวแนะนำ
- ‘พินิจ’ เชื่อ 46 ปี สังคมไทยได้กำไรจาก ‘มติชน’ สื่อคุณธรรม-รักปชต. รับใช้ประชาชน
- น้องแรมโบ้โต้เดือด’ส.ส.สภาโจ๊กแบบไหนถึงเรียกบุคคลที่สังคมยอมรับ
- อาชญากรรมวันนี้ ย้อน ยิงถล่ม “นายก อบต.บางสมบูรณ์” ก่อนปิดฉากรวบผู้จ้างวาน
- แนะข้อปฏิบัติ สังคมจะดีขึ้นจากตัวเรา ไม่เกี่ยว “ปฏิรูปสถาบันฯ” แฉ “ซื้อ-ขาย” ตำแหน่งบิ๊ก ขรก.สูงถึง 400 ล.
- ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ: อ่านประวัติศาสตร์โลก อ่านอนาคตสังคมไทย